แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ รับเหมาก่อสร้าง ต่อเติม ออกแบบก่อสร้าง แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ รับเหมาก่อสร้าง ต่อเติม ออกแบบก่อสร้าง แสดงบทความทั้งหมด

รอยร้าวพื้นกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวพื้นกับแบบบ้านสวยสวย
รอยร้าวที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ใช้แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป!!!! เกิดจากอะไรมีวิธีป้องกันรอยร้าวดังกล่างกล่าวได้อย่างไร???? วันนี้แอดมิน มีเทคนิคดีดีเรื่องการป้องกันรอยร้าวดังกล่าว มาให้เพื่อนๆดูกันครับ ถ้าจะให้แอดมินพูดแบบบ้านๆ ก็ได้ว่าให้เพื่อนๆเสริมเหล็กบริเวณหัวแผ่นคานหรือรอยต่อของแผ่นพื้นสำเร็จรูป ให้เพียงพอ เพื่อรับแรงที่เกิดขึ้นเมื่อแผ่นพื้นรับน้ำหนักแล้ว บริเวณหัวเแผ่นพื้นจะกระดกขึ้น หรือมีโมเมนต์ลบเกิดขึ้นที่ผิวบนของพื้นเชิงประกอบ
อดมินขออนุญาต นำคำอธิบายเชิงวิชาการ ของ ดร.ทินกร มนต์ประภัสสร จากวิศวกรรมสาร มาให้เพื่อนอ่านกันครับ
วันนี้หน้างานของเราได้วางแผ่นพื้นสำเร็จรูป และเทคอนกรีตทับหน้าดังกล่าวเลยครับบบเลยเอาเรื่องนี้มาเล่าให้ฟังครับบบบ
#ออกแบบพร้อมก่อสร้าง
#รับก่อสร้างบ้าน
#ก่อสร้างหอพัก
#ก่อสร้างอพาร์ทเม้นท์
#ทีริชคอนสทรัคชั่น
ติดต่อขอดูผลงานก่อสร้างได้ที่
โทร 086 300 7115 ,02 988 5559
line ID : 08630071115 หรือคลิ๊กลิ้งค์
หรือติดตามเยี่ยมชมแบบบ้านสวยได้ที่
https://www.xn--q3cbaa5ba7abyc7fyi6d.com/


รอยร้าวกับแบบบ้านสวย
เพิ่มคำอธิบายภาพ



รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย
รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย
รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย
เพิ่มคำอธิบายภาพ

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย
รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย
รอยร้าวกับแบบบ้านสวยสวย

#ออกแบบพร้อมก่อสร้าง
#รับก่อสร้างบ้าน
#ก่อสร้างหอพัก
#ก่อสร้างอพาร์ทเม้นท์
#ทีริชคอนสทรัคชั่น
ติดต่อขอดูผลงานก่อสร้างได้ที่
โทร 086 300 7115 ,02 988 5559
line ID : 08630071115 หรือคลิ๊กลิ้งค์
หรือติดตามเยี่ยมชมแบบบ้านสวยได้ที่
https://www.xn--q3cbaa5ba7abyc7fyi6d.com/

การก่อสร้าง - ต่อเติม โดยใช้เข็มหกเหลี่ยมกลวง

การก่อสร้าง - ต่อเติม โดยใช้เข็มหกเหลี่ยมกลวง 


เคยมีลูกค้าถามว่า ก่อสร้างแบบนี้ แบบนั้น สามารถ ใช้เข็มหกเหลี่ยมได้ไหม




ปกติแล้วเราจะใช้เสาเข็มหกเหลี่ยมในงานขนาดเล็กๆ รับน้ำหนักไม่มาก งานต่อเติมทั่วไป
สำหรับงานรั้ว งานบ้านพักอาศัยขนาดปานกลาง หรืออื่น ๆ ที่รับน้ำหนักไม่มากนัก
แต่เสาต้นที่รับน้ำหนักมากอาจต้องใช้เสาเข็มจำนวนมาก อาจจะมากกว่า 10 ต้น
แล้วแต่ขนาดของช่วงเสา (ขนาดห้อง) ซึ่งหากใช้เสาเข็มจำนวนมาก
จะทำให้ฐานรากมีขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ประหยัด และอาจส่งผลต่อความปลอดภัย จำเป็นต้องปรึกษา
วิศวกรโครงสร้างเพื่อคำนวนน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย




เราลองมาดุกันว่าเสาเข็มหกเหลี่ยมที่ว่ารับน้ำหนักได้ประมาณเท่าไหร่


   ยกตัวอย่างเช่น ในกรุงเทพ ฯ

ข้อบัญญัติ กทม. ความฝืดช่วง 7 เมตร แรกนั้น 600 kg/m^2 เสาหกเหลี่ยมกลวงมีเส้นรอบรูป 0.45 เมตร ดังนั้นแรงฝืด = 0.45 * 600 = 270 kg/m ดังนั้น

เสาเข็มยาว 3 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 3 = 810  kg

เสาเข็มยาว 4 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 4 = 1080 kg

เสาเข็มยาว 5 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 5 = 1350 kg

เสาเข็มยาว 6 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 6 = 1620 kg

การใช้เสียมขุดดินลงไปเป็นรู ลึกลงไปมาก ๆ แล้วจึงใช้เสาเข็มเสียบลงไปจะทำให้ดินสูญเสียค่าความฝืดในการยึดเกาะเสาเข็ม

...................................................................................................................


จัดทำบทความโดย: Buildthai .Com
วิศวกรออกแบบ :(Civil Design Engineer)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย

งานก่อสร้าง กับการใช้เสาเข็มตอก

งานก่อสร้าง กับการใช้เสาเข็มตอก


เสาเข็มตอกเป็นเสาเข็มประเภทหนึ่งที่ เรานิยม ใช้เพื่อรับน้ำหนักของอาคารบ้านเรือน เสาเข็มตอกก็มีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไป 
ไปเมื่อเปรียบเที่ยบกับเสาเข็มชนิดอื่นๆ  แต่อย่างไรก็ตามแล้วการที่จะเลือกใช้เสาเข็มประเภทไหนนั้นเป็นหน้าที่ของวิศวกรผู้ออกแบบ
จะเป็นคนเลือก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพดิน  สิ่งแวดล้อมรอบข้าง  เพื่อให้เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย และลดต้นทุนการ
ก่อสร้าง ให้มากที่สุด    ในที่นี้เรามาดูการตรวจสอบ การทำเสาเข็มตอกกันว่า วิธีการอย่างไร



การตรวจสอบการตอกเข็มมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.      ผู้ควบคุมงานหรือวิศวกร ควรศึกษาแบบแปลนก่อสร้างให้เข้าใจ เพื่อวางแผนการตอกเสเข็มให้สามารถตอกเข็มได้อย่างต่อเนื่องและย้ายปั้นจั้นให้น้อนที่สุด
2.      ศึกษารายการคำนวนเสาเข็ม Blow cout น้ำหนักของลูกตุ้ม ขนาดของเสาเข็ม ความยาวระยะยกลูกตุ้ม ให้เข้าใจเพื่อการตรวจสอบก่อนการตอกเข็ม



3.      เตรียมสาธารณูปโภคต่างๆ เช่นไฟฟ้า ,น้ำประปา เส้นทางลำเลียงเสาเข็มเป็นต้น
4.      ตรวจสอบความแข็งแรงและตำแหน่งของปั้นจั่นให้ตรงกับตำแหน่งของเสาเข็มที่จะตอก
5.      ตรวจสอบอายุของเสาเข็ม รอยแตกร้าวต่างๆของเสาเข็ม
6.      ตรวจสอบความได้ดิ่งของเสาเข็มทั้งสองด้านเมื่อเสาเข็มได้ดิ่งแล้วให้ทำเครื่องหมายในแนวราบเพื่อไว้ตรวจสอบการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มระหว่างตอก
7.      ระหว่างการตอกควรตรวจสอบดิ่งของเสาเข็มเป็นระยะๆ และระหว่างตอกควรสังเกตเชือกสลิงตอนที่ลูกตุ้มตกว่าหย่อนหรือป่าวเพื่อตรวจสอบระยะยกลูกตุ้ม
8.      ควรหยุดตอกเมื่อปลายเสาเข็มส่วนแรกอยู่จากระดับดินประมาณ 30 ซม. เพื่อเตรียมเชื่อมต่อความยาว
9.      ตรวจสอบรอยเชื่อมให้เคาะตะกรันเชื่
อมออกให้หมด หากพบว่ารอยเชื่อมยังไม่สมบูรณ์ให้ทำการเชื่อมซ้ำให้รอยเชื่อมเสมอกับผิวของเสาเข็ม  ก่อนตอกต้นที่2 ให้ยกลูกตุ้มกระแทก 2-3 ครั้งแล้วตรวจสอบความสมบูรณ์ของรอยเชื่อมอีกครั้งหากไม่มีข้อบกพร่องให้ตอกต่อไปจนถึงระยะนับ Blow Count
10.  เมื่อตอกเสาเข็มจนถึงระยะนับ Blow Count  ให้เริ่มนับจำนวนครั้งที่ใช้ในการตอกเสาเข็มที่จมไปทุกๆช่วง 30 ซม.ตามที่ผู้ออกแบบกำหนด
11.  กรณีตอกเสาเข็มจนเสมอระดับดินแล้วแต่ยังไม่ผ่านการนับ Blow Count ให้ถอดหมวกครอบเข็มออกแล้วติดตั้งหัวส่งเสาเข็มเพื่อตอกเข็มต่อให้ Blow Count ตามผู้ออกแบบกำหนด
12.  ตรวจสอบ Last 10 blow เป็นการเทียบอัตราการทรุดตัวจากการตอกจำนวน10ครั้งจะกระทำซ้ำกันจำนวน 3 ครั้งตามขั้นตอนดังนี้
12.1    ในกรณีที่เสาเข็มโผล่เหนือดินการวัดระยะ 10 ครั้งสุดท้ายได้โดยตรงจากทำเส้นไว้ที่เสาเข็ม แต่ถ้าใช้หัวส่งเสาเข็มต้องใช้อุปกรณ์ช่วยวัดการทรุดตัวเช่น ท่อPVC ค้ำยันระหว่างปั้นจั่นกับพื้นดินแล้วขีดเส้นอ้างอิงก่อตอกเข็ม
12.2    ใช้ปั้นจั่นตอก 10 ครั้งแล้ววัดระยะการทรุดตัว ทำซ้ำกัน 3 รอบ การทรุดตัวที่วัดได้จะต้องไม่เกินค่าที่ผู้ออกแบบกำหนด  ถือว่าเสร็จสิ้นการตอกเสาเข็มต้นนั้น





............................................................................................................

จัดทำบทความโดย: Buildthai.com
วิศวกรออกแบบ :(Civil Design Engineer For Buildthai.com)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539 
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย