ปรับปรุงอาคารพักอาศัย และสำนักงาน 4 ชั้น

 ปรับปรุงอาคารพักอาศัย และ สำนักงาน 4 ชั้น  ทาวน์อินทาวน์ 

โครงการนี้เป็นการ ต่อเติมอาคารออกไปด้านข้าง และปรับปรุงอาคารใหม่ทั้งหลังให้ทันสมัย บริษัทรับออกและก่อสร้างทุกระบบงา


สำนักงาน 4 ชั้น 

สำนักงาน 4 ชั้น 

สำนักงาน 4 ชั้น 

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

บ้านโครงเหล็ก

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 

ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 4 ชั้น 


เมื่องานก่อสร้าง เกิดปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์

การก่อสร้าง เมื่อเสาเข็มเยื้องศูนย์ 

การตรวจสอบเสาเข็มกลุ่มเยื้องศูนย์
   การทำเสาเข็มไม่ว่าจะเป็นเสาเข็มตอกหรือเสาเข็มเจาะเราคงหลีกเลี่ยงเสาเข็มเยื้องศูนย์ไม่ได้การตรวจสอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์มีดังต่อไปนี้




1.    ตรวจสอบเสาเข็ม  ต้องคำนวณแรงปฎิกิริยาในเสาเข็มซึ่งของเดิมจะใช้ไม่ได้ แรงอัดในเสาเข็มอาจเปลี่ยนแปลงไปถ้ามีการเยื้องศูนย์ โมเมนต์ที่เกิดจากการเยื้องศูนย์อาจทำให้เสาเข็มแต่เดิมรับแรงอัดกลับกลายมาเป็นรับแรงดึง ต้องตรวจสอบ Dowel ของเสาเข็มว่ามีเพียงพอหรือไม่และตรวจสอบว่าแรงในเสาเข็มจะต้องไม่เกินน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยหรือไม่  การเยื้องศูนย์ของเสาเข็มอาจทำให้เกิดโมเมนต์ในเสาเข็มซึ่ง งานเสาเข็มตอกไม่สามารถรับโมเมนต์ได้ อาจจะต้องใส่เหล็กในเสาเข็มเพิ่มถ้าสามารถทำได้ หรือใช้วิธีกำจัดโมเมนต์ทิ้งไปโดยวิธีการตอกเสาเข็มแซมจะกล่าวต่อไป

2.   การคำนวณศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็ม   เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ ทำให้ CG ของกลุ่มเสาเข็มเปลียนไปต้องหาตำแหน่งของจุด CG ใหม่ เพราะว่าCg จะเป็นตัวบอกว่าการเยื้องศูนย์ดังกล่าวนั้น เยื้องไปมากหรือน้อยเพี่ยงใด         ตำแหน่งจดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็มหาได้จะกล่าวในโอกาสต่อไป 
3.   การหาแรงปฎิกิริยา ในเสาเข็ม   (รายละเอียดจะกล่าวไว้ในโอกาสต่อไป)     และ  เมื่อได้แรงปปฎิริยาในเสาเข็มแต่และต้นแล้วก็สามารถทราบถึงภาระในการรับนำหนักของเข็มที่เปลี่ยนไปจากเดิมและต้องไม่เกินน้ำหนักปลอดภัยของเข็มต้นนั้นๆด้วย

4.     ตรวจสอบ เสาตอม่อ เมื่อเกิดการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มแล้ว โมเมนต์ที่เพิ่มขึ้นอาจจะดัดเสาตอม่อซึ่งต้องพิจารณาด้วยว่าตอม่อเดิมเหล็กรับโมเมนต์และแรงเฉือนเพียงพอหรือไม่ 

5.      ตรวจสอบฐานราก เมื่อเสาเข็มเยื้องศูนย์ ก็จะทำให้เกิดโมเมนต์ในฐานรากเพิ่มขึ้นด้วย ต้องตรวจสอบเหล็กเสริมในฐานรากว่าเพียงพอหรือไม่



  แนวทางการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดการเยื้องศุนย์ระหว่างจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็มและฐานราก

1.     การตอกเสาข็มแซม  หลักของการทำเสาเข็มแซม คือ พยายามให้จุดศูนย์ถ่วงของเสาเข็มอยู่ตรงกับตำแหน่งเสาตอม่อเพื่อป้องกันการเยื้องศูนย์ของเสาเข็ม ซึ่งอาจทำให้โมเมนต์ทั้งในฐานรากและตอม่อไม่ตรงตามที่ออกแบบไว้แต่เดิม อาจจะต้องเพิ่มปริมาณของฐานรากหรือเหล็กเสริมด้วย

2.  การหมุนฐานราก เป็นวิธีที่เปลี่ยนแกนของฐานราก เสาเข็มกลุ่มใหม่จะมีจุดศูนย์ถ่วงอยู่ตำแหน่งเสาตอม่อทำให้แรงปฎิริยาในเสาเข็มไม่เปลี่ยนแปลง แต่จะมีข้อเสียคือจะต้องใช้เสาเข็มใหม่แทนเข็มเก่าซึ่งสิ้นเปลือง
3.     การทำคานยึดรั้ง   เมื่อเกิดโมเมนต์ในฐานรากจะต้องกำจัดโมเมนต์โดยทำคานยึดรั้งหรือฐานรากร่วม ยึดไว้กับโครงสร้างด้านใน เพื่อทำลายโมเมนต์ที่เกิดขึ้
.........................................................................................................................................  
จัดทำบทความโดย: BUILDTHIAL .COM  
วิศวกรออกแบบ :    (Civil Design Engineer For Buildthai .com)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539 
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย





การก่อสร้าง - ต่อเติม โดยใช้เข็มหกเหลี่ยมกลวง

การก่อสร้าง - ต่อเติม โดยใช้เข็มหกเหลี่ยมกลวง 


เคยมีลูกค้าถามว่า ก่อสร้างแบบนี้ แบบนั้น สามารถ ใช้เข็มหกเหลี่ยมได้ไหม




ปกติแล้วเราจะใช้เสาเข็มหกเหลี่ยมในงานขนาดเล็กๆ รับน้ำหนักไม่มาก งานต่อเติมทั่วไป
สำหรับงานรั้ว งานบ้านพักอาศัยขนาดปานกลาง หรืออื่น ๆ ที่รับน้ำหนักไม่มากนัก
แต่เสาต้นที่รับน้ำหนักมากอาจต้องใช้เสาเข็มจำนวนมาก อาจจะมากกว่า 10 ต้น
แล้วแต่ขนาดของช่วงเสา (ขนาดห้อง) ซึ่งหากใช้เสาเข็มจำนวนมาก
จะทำให้ฐานรากมีขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ประหยัด และอาจส่งผลต่อความปลอดภัย จำเป็นต้องปรึกษา
วิศวกรโครงสร้างเพื่อคำนวนน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย




เราลองมาดุกันว่าเสาเข็มหกเหลี่ยมที่ว่ารับน้ำหนักได้ประมาณเท่าไหร่


   ยกตัวอย่างเช่น ในกรุงเทพ ฯ

ข้อบัญญัติ กทม. ความฝืดช่วง 7 เมตร แรกนั้น 600 kg/m^2 เสาหกเหลี่ยมกลวงมีเส้นรอบรูป 0.45 เมตร ดังนั้นแรงฝืด = 0.45 * 600 = 270 kg/m ดังนั้น

เสาเข็มยาว 3 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 3 = 810  kg

เสาเข็มยาว 4 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 4 = 1080 kg

เสาเข็มยาว 5 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 5 = 1350 kg

เสาเข็มยาว 6 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 6 = 1620 kg

การใช้เสียมขุดดินลงไปเป็นรู ลึกลงไปมาก ๆ แล้วจึงใช้เสาเข็มเสียบลงไปจะทำให้ดินสูญเสียค่าความฝืดในการยึดเกาะเสาเข็ม

...................................................................................................................


จัดทำบทความโดย: Buildthai .Com
วิศวกรออกแบบ :(Civil Design Engineer)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย

งานก่อสร้าง กับการใช้เสาเข็มตอก

งานก่อสร้าง กับการใช้เสาเข็มตอก


เสาเข็มตอกเป็นเสาเข็มประเภทหนึ่งที่ เรานิยม ใช้เพื่อรับน้ำหนักของอาคารบ้านเรือน เสาเข็มตอกก็มีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไป 
ไปเมื่อเปรียบเที่ยบกับเสาเข็มชนิดอื่นๆ  แต่อย่างไรก็ตามแล้วการที่จะเลือกใช้เสาเข็มประเภทไหนนั้นเป็นหน้าที่ของวิศวกรผู้ออกแบบ
จะเป็นคนเลือก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพดิน  สิ่งแวดล้อมรอบข้าง  เพื่อให้เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย และลดต้นทุนการ
ก่อสร้าง ให้มากที่สุด    ในที่นี้เรามาดูการตรวจสอบ การทำเสาเข็มตอกกันว่า วิธีการอย่างไร



การตรวจสอบการตอกเข็มมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.      ผู้ควบคุมงานหรือวิศวกร ควรศึกษาแบบแปลนก่อสร้างให้เข้าใจ เพื่อวางแผนการตอกเสเข็มให้สามารถตอกเข็มได้อย่างต่อเนื่องและย้ายปั้นจั้นให้น้อนที่สุด
2.      ศึกษารายการคำนวนเสาเข็ม Blow cout น้ำหนักของลูกตุ้ม ขนาดของเสาเข็ม ความยาวระยะยกลูกตุ้ม ให้เข้าใจเพื่อการตรวจสอบก่อนการตอกเข็ม



3.      เตรียมสาธารณูปโภคต่างๆ เช่นไฟฟ้า ,น้ำประปา เส้นทางลำเลียงเสาเข็มเป็นต้น
4.      ตรวจสอบความแข็งแรงและตำแหน่งของปั้นจั่นให้ตรงกับตำแหน่งของเสาเข็มที่จะตอก
5.      ตรวจสอบอายุของเสาเข็ม รอยแตกร้าวต่างๆของเสาเข็ม
6.      ตรวจสอบความได้ดิ่งของเสาเข็มทั้งสองด้านเมื่อเสาเข็มได้ดิ่งแล้วให้ทำเครื่องหมายในแนวราบเพื่อไว้ตรวจสอบการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มระหว่างตอก
7.      ระหว่างการตอกควรตรวจสอบดิ่งของเสาเข็มเป็นระยะๆ และระหว่างตอกควรสังเกตเชือกสลิงตอนที่ลูกตุ้มตกว่าหย่อนหรือป่าวเพื่อตรวจสอบระยะยกลูกตุ้ม
8.      ควรหยุดตอกเมื่อปลายเสาเข็มส่วนแรกอยู่จากระดับดินประมาณ 30 ซม. เพื่อเตรียมเชื่อมต่อความยาว
9.      ตรวจสอบรอยเชื่อมให้เคาะตะกรันเชื่
อมออกให้หมด หากพบว่ารอยเชื่อมยังไม่สมบูรณ์ให้ทำการเชื่อมซ้ำให้รอยเชื่อมเสมอกับผิวของเสาเข็ม  ก่อนตอกต้นที่2 ให้ยกลูกตุ้มกระแทก 2-3 ครั้งแล้วตรวจสอบความสมบูรณ์ของรอยเชื่อมอีกครั้งหากไม่มีข้อบกพร่องให้ตอกต่อไปจนถึงระยะนับ Blow Count
10.  เมื่อตอกเสาเข็มจนถึงระยะนับ Blow Count  ให้เริ่มนับจำนวนครั้งที่ใช้ในการตอกเสาเข็มที่จมไปทุกๆช่วง 30 ซม.ตามที่ผู้ออกแบบกำหนด
11.  กรณีตอกเสาเข็มจนเสมอระดับดินแล้วแต่ยังไม่ผ่านการนับ Blow Count ให้ถอดหมวกครอบเข็มออกแล้วติดตั้งหัวส่งเสาเข็มเพื่อตอกเข็มต่อให้ Blow Count ตามผู้ออกแบบกำหนด
12.  ตรวจสอบ Last 10 blow เป็นการเทียบอัตราการทรุดตัวจากการตอกจำนวน10ครั้งจะกระทำซ้ำกันจำนวน 3 ครั้งตามขั้นตอนดังนี้
12.1    ในกรณีที่เสาเข็มโผล่เหนือดินการวัดระยะ 10 ครั้งสุดท้ายได้โดยตรงจากทำเส้นไว้ที่เสาเข็ม แต่ถ้าใช้หัวส่งเสาเข็มต้องใช้อุปกรณ์ช่วยวัดการทรุดตัวเช่น ท่อPVC ค้ำยันระหว่างปั้นจั่นกับพื้นดินแล้วขีดเส้นอ้างอิงก่อตอกเข็ม
12.2    ใช้ปั้นจั่นตอก 10 ครั้งแล้ววัดระยะการทรุดตัว ทำซ้ำกัน 3 รอบ การทรุดตัวที่วัดได้จะต้องไม่เกินค่าที่ผู้ออกแบบกำหนด  ถือว่าเสร็จสิ้นการตอกเสาเข็มต้นนั้น





............................................................................................................

จัดทำบทความโดย: Buildthai.com
วิศวกรออกแบบ :(Civil Design Engineer For Buildthai.com)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539 
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย







ก่อสร้างอาคารพักอาศัยและสำนักงาน 3 ชั้น หนองจอก

 ก่อสร้างอาคารพักอาศัยและสำนักงาน  3 ชั้น หนองจอก


แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 


โฮมออฟฟิศ สไตล์ โม เดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น